แบบหล่อคอนกรีต (Molds)

แบบหล่อคอนกรีต ( Molds )
|

|

|
แบบหล่อทรงเหลี่ยม(เหล็ก) รุ่น XSF
ขนาด 15x15x15 ซม.หนักประมาณ 15-16 กก. |
แบบหล่อทรงเหลี่ยม(เหล็ก)รุ่น CM1
ขนาด 15x15x15 ซม.หนักประมาณ 9-10 กก. |

|

|
แบบหล่อทรงเหลี่ยม(เหล็ก)รุ่น CM2
ขนาด 10x10x10 ซม. หนักประมาณ 6 กก. |
แบบหล่อทรงเหลี่ยม(พลาสติก)
ขนาด 15x15x15 ซม. |
 
|
  |
แบบหล่อทรงกระบอก(เหล็กหล่อ)
ขนาด 30x15 ซม. หนักประมาณ14-15 กก. |
แบบหล่อเหล็กเหนียว
ขนาด 30x15 ซม. หนักประมาณ 13 กก. |
 รุ่น CY1 ขนาด 30x15 ซม_ หนักประมาณ14-15 กก1.png) 
|
|
แบบหล่อทรงกระบอก
ขนาด 30x15 ซม. หนักประมาณ 14-15 กก. |
เหล็กกระทุ้ง |
บทความน่ารู้ของแบบหล่อคอนกรีต
คุณสมบัติของแบบหล่อที่ดี
1.วัสดุที่ใช้ทาแบบหล่อควรมีราคาถูก หาซื้อได้ง่าย
2.มีความแข็งแรงอย่างเพียงพอ ไม่เกิดการแอ่นตัวจนเสีย รูปร่างขณะเทคอนกรีต
3.วัสดุที่ใช้ค้ายันมีความแข็งแรงอย่างเพียงพอ
4.รอยต่อของแบบหล่อมีความมั่นคงแข็งแรง
5.ผิวสัมผัสระหว่างแบบหล่อควรมีความเรียบพอควร
5.สามารถทนทานต่อการปฏิกิริยาจากน้าปูนโดยไม่เกิด การเสียหาย เสียรูปร่าง
ต้องคำนึงถึงความประหยัดตลอดจนความแข็งแรง สะดวกในการติดตั้งและถอดออก จานวนครั้งของการใช้งานซ้ำ รวมถึงรูปร่างและผิวของคอนกรีตหลังจากถอดแบบหล่อ
แบบหล่อเหล็กนิยมใช้งานอย่างกว้างขวาง สาหรับงานที่ต้องการความแข็งแรงและผิวคอนกรีตที่สวยงาม สามารถใช้ซ้าได้หลายครั้ง ประหยัดค่าแบบหล่อ เหล็กที่นามาใช้ทาแบบหล่อส่วนใหญ่ เป็นเหล็กมาตรฐาน ASTM
ข้อเสียของแบบเหล็กคือ ดัดแปลงรูปร่างยาก น้าหนักมาก
น้ำยาเคลือบแบบหล่อ
มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้คอนกรีตเกาะติดกับผิวแบบหล่อ ทาให้ถอดแบบหล่อออกได้ง่าย ได้ผิวคอนกรีตที่เรียบและสะอาดยืดอายุการใช้งานซ้ำของแบบหล่อ
น้ำหนักและแรงดันที่กระทาต่อแบบหล่อ
1.น้ำหนักคงที่ คือ น้าหนักของแบบหล่อ คอนกรีต เหล็กเสริม
2.น้ำหนักจร คือ น้าหนักนอกเหนือจากน้าหนักคงที่ เช่น คนงาน เครื่องมือ วัสดุต่างๆ
3.น้ำหนักจากสภาวะแวดล้อม คือ แรงที่กระทามาจากธรรมชาติ ได้แก่ แรงลม พายุฝน เป็นต้น
4.แรงดันของคอนกรีตต่อแบบหล่อในขณะที่อยู่ในสภาวะของเหลว
ปัจจัยที่มีผลต่อแรงดันคอนกรีตที่มากระทาต่อแบบหล่อ
1.ส่วนผสมของคอนกรีต คอนกรีตที่เหลวมีค่าการยุบตัวสูง ทาให้มีแรงดันที่กระทาต่อแบบหล่อมาก และคอนกรีตที่มีสภาพข้นเหนียวมีค่าการยุบตัวต่า มีแรงดันต่อแบบหล่อน้อย
2.การเทคอนกรีตในอัตราที่ช้า คอนกรีตที่ส่วนล่างจะค่อยๆก่อตัวมีส่วนช่วยลดแรงดันลงได้เป็นอย่างมาก
3.ความหนาแน่นของคอนกรีต หากผสมคอนกรีตที่มีหน่อยน้าหนักยิ่งมาก ยิ่งมีแรงดันคอนกรีตมากขึ้น
4.อุณหภูมิ เทคอนกรีตในช่วงอากาศร้อน แรงดันจะน้อย อากาศเย็นแรงดันจะมาก
5.การใช้เครื่องสั่นคอนกรีต แรงสั่นสะเทือนทาให้คอนกรีตแน่นตัว ละส่งผลให้เกิดแรงดันต่อแบบหล่อมากขึ้น
6.ความสูงของระยะเท แรงดันคอนกรีตจะเพิ่มขึ้นตามความสูงของคอนกรีต
7.ขนาดของหน้าตัดโครงสร้าง โครงสร้างใหญ่แรงดันจะสูงกว่าโครงสร้างขนาดเล็ก
8.ปริมาณเหล็กเสริม เหล็กเสริมสามารถช่วยต้านทาน และพยุงเนื้อคอนกรีต
ตารางเปรียบเทียบแบบหล่อทรงกระบอก
 |
|
แบบหล่อทรงกระบอก(เหล็กหล่อ) |
แบบหล่อทรงกระบอก(เหล็กเหนียว) |
วัสดุทำจาก เหล็กหล่อ |
วัสดุทำจาก เหล็กเหนียว |
ขนาด 30*15 cm. |
ขนาด 30*15 cm. |
น้ำหนัก 14-15 kg |
น้ำหนัก 13 kg |
ตัวล็อค 6 จุด |
ตัวล็อค 4 จุด
|
|
|
อุปกรณ์ทดสอบดิน คอนกรีต และแอสฟัลท์